Differences between revisions 1 and 5 (spanning 4 versions)
Revision 1 as of 2008-11-19 14:08:16
Size: 3818
Comment: Translate TutorialExport to Thai
Revision 5 as of 2009-05-19 19:30:55
Size: 4115
Editor: localhost
Comment: converted to 1.6 markup
Deletions are marked like this. Additions are marked like this.
Line 3: Line 3:
''(หน้านี้เป็นหน้าที่ 6 จาก 9 ของ[:Tutorial:บทเรียน]การใช้งาน Mercurial  หน้าก่อนหน้าคือ [:ThaiTutorialShareChange], หน้าถัดไปคือ [:ThaiTutorialMerge])'' ''(บทนี้เป็นบทที่ 6 จาก 9 บทของ[[ThaiTutorial|บทเรียนการใช้งาน Mercurial]] บทก่อนหน้าคือ [[ThaiTutorialShareChange|แบ่งปันสิ่งที่คุณแก้ไขกับ repository อื่น]], บทถัดไปคือ [[ThaiTutorialMerge|รวมประวัติการแก้ไขจาก repository อื่น]])''
Line 5: Line 5:
ใน ThaiTutorialShareChange เราได้เรียนรู้วิธีดึง [:ChangeSet:changeset] จาก [:Repository:repository] นึกถึงอีก repository นึง Mercurial ยังมีวิธีอื่นในการแบ่งปันการแก้ไขของเรากับบุคลอื่นด้วย โดยวิธีที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดก็คือผ่านอีเมล์ ใน[[ThaiTutorialShareChange|บทที่แล้ว]]เราได้เรียนวิธีดึงประวัติการแก้ไขจากอีก repository นึง นอกจากวิธีการดึงแล้ว Mercurial ยังมีวิธีอื่นในการแบ่งปันการแก้ไขของเรากับคอื่นด้วย โดยวิธีที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดก็คือผ่านอีเมล์
Line 7: Line 7:
หลังจากที่เราได้[:Commit:คอมมิท]การแก้ไขแล้วเราสามารถ[:Export:ส่งออก]การแก้ไขไปที่ไฟล์ แนบไฟล์ดังกล่าวในอีเมล์และส่งอีเมล์ให้คนที่เราต้องการแบ่งปันด้วยก็ได้ หลังจากที่เรา[[Commit|คอมมิท]]การแก้ไขแล้วเราสามารถ[[Export|ส่งออก]]การแก้ไขไปที่ไฟล์ จากนั้นก็แนบไฟล์ดังกล่าวในอีเมล์และส่งอีเมล์ให้คนที่เราต้องการแบ่งปันด้วย
Line 9: Line 9:
เราสามารถส่งออกการแก้ไขได้โดยใช้คำสั่ง `export` โดยเราจะต้องระบุป้ายกำกับ, [:RevisionNumber:เลขที่ revision] หรือ [:ChangeSetID:changeset ID] เพื่อบอก Mercurial ว่าเราต้องการส่งออกอะไร  ในกรณีนี้เราต้องการส่งออก[:Tip:ปลาย]ของ repository สมมุติว่าเรายังอยู่ในไดเร็คทอรี่ `my-hello-share` directory เราสามารถลองส่งออกได้โดยพิมพ์ คำสั่งสำหรับส่งออกการแก้ไขคือ `export` ในการใช้คำสั่งนี้เราจะต้องระบุป้ายกำกับ, [[RevisionNumber|เลขที่ของครั้งที่แก้ไข]] หรือ [[ChangeSetID|รหัสประจำเซ็ตการแก้ไข]]เพื่อบอก Mercurial ว่าเราต้องการส่งออกอะไร สมมุติว่าเราต้องการส่งออก[[Tip|ส่วนปลา]]ของ repository `my-hello-share` เราสามารถทำได้โดยพิมพ์
Line 32: Line 32:
โดยปกติคำสั่ง `export` จะแค่แสดง patch เพราะฉะนั้นเราจะต้อง redirect ผลลัพธ์ของคำสั่งนี้ไปที่ไฟล์ (หรือใช้ตัวเลือก -o) ไฟล์นี้คือ [:PatchFile:ไฟล์ patch] ที่มีรูปแบบ [:UnifiedDiff:unified diff] พร้อมกับข้อมูลเพิ่มเติมอีกนิดหน่อยที่จะบอก Mercurial ว่าจะต้อง[:Import:นำเข้า]ไฟล์ยังไง โดยปกติคำสั่ง `export` จะแค่แสดง patch เพราะฉะนั้นเราจะต้อง redirect ผลลัพธ์ของคำสั่งนี้ไปที่ไฟล์ (หรือใช้ตัวเลือก -o แทน) ไฟล์นี้คือ [[PatchFile|ไฟล์ patch]] ที่มีเนื้อหาในรูปแบบ [[UnifiedDiff|unified diff]] พร้อมกับข้อมูลเพิ่มเติมอีกนิดหน่อยที่บอก Mercurial ว่าจะต้อง[[Import|นำเข้า]]ไฟล์ยังไง
Line 34: Line 34:
เมื่อผู้รับได้รับอีเมล์ของเรา เค้าจะต้องบันทึกไฟล์ที่แนบมาและใช้คำสั่ง `import` เพื่อนำเข้า changeset ใน repository เมื่อผู้รับได้รับอีเมล์ของเรา เค้าจะต้องบันทึกไฟล์ที่แนบมาและใช้คำสั่ง `import` เพื่อนำเข้าเซ็ตการแก้ไขใน repository ของตัวเอง
Line 36: Line 36:
อ่านบทต่อไปที่ [:ThaiTutorialMerge] เพื่อเรียนวิธีการ[:Merge:รวมการแก้ไข]จากหลายๆ repository บทต่อไปจะอธิบายการ[[ThaiTutorialMerge|รวมประวัติการแก้ไขจาก repository อื่น]]repository
Line 40: Line 40:
CategoryThai

บทเรียน - แบ่งปันสิ่งที่คุณแก้ไขกับบุคคลอื่นๆ

(บทนี้เป็นบทที่ 6 จาก 9 บทของบทเรียนการใช้งาน Mercurial บทก่อนหน้าคือ แบ่งปันสิ่งที่คุณแก้ไขกับ repository อื่น, บทถัดไปคือ รวมประวัติการแก้ไขจาก repository อื่น)

ในบทที่แล้วเราได้เรียนวิธีดึงประวัติการแก้ไขจากอีก repository นึง นอกจากวิธีการดึงแล้ว Mercurial ยังมีวิธีอื่นในการแบ่งปันการแก้ไขของเรากับคนอื่นด้วย โดยวิธีที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดก็คือผ่านอีเมล์

หลังจากที่เราคอมมิทการแก้ไขแล้วเราสามารถส่งออกการแก้ไขไปที่ไฟล์ จากนั้นก็แนบไฟล์ดังกล่าวในอีเมล์และส่งอีเมล์ให้คนที่เราต้องการแบ่งปันด้วย

คำสั่งสำหรับส่งออกการแก้ไขคือ export ในการใช้คำสั่งนี้เราจะต้องระบุป้ายกำกับ, เลขที่ของครั้งที่แก้ไข หรือ รหัสประจำเซ็ตการแก้ไขเพื่อบอก Mercurial ว่าเราต้องการส่งออกอะไร สมมุติว่าเราต้องการส่งออกส่วนปลายของ repository my-hello-share เราสามารถทำได้โดยพิมพ์

$ hg export tip
# HG changeset patch
# User mpm@selenic.com
# Date 1209943246 -7200
# Node ID 86794f718fb1ea9e633f7c052757663b8ce90e30
# Parent  82e55d328c8ca4ee16520036c0aaace03a5beb65
Express great joy at existence of Mercurial

diff -r 82e55d328c8c -r 86794f718fb1 hello.c
--- a/hello.c   Fri Aug 26 01:21:28 2005 -0700
+++ b/hello.c   Mon May 05 01:20:46 2008 +0200
@@ -12,5 +12,6 @@
 int main(int argc, char **argv)
 {
        printf("hello, world!\n");
+       printf("sure am glad I'm using Mercurial!\n");
        return 0;
 }

โดยปกติคำสั่ง export จะแค่แสดง patch เพราะฉะนั้นเราจะต้อง redirect ผลลัพธ์ของคำสั่งนี้ไปที่ไฟล์ (หรือใช้ตัวเลือก -o แทน) ไฟล์นี้คือ ไฟล์ patch ที่มีเนื้อหาในรูปแบบ unified diff พร้อมกับข้อมูลเพิ่มเติมอีกนิดหน่อยที่บอก Mercurial ว่าจะต้องนำเข้าไฟล์ยังไง

เมื่อผู้รับได้รับอีเมล์ของเรา เค้าจะต้องบันทึกไฟล์ที่แนบมาและใช้คำสั่ง import เพื่อนำเข้าเซ็ตการแก้ไขใน repository ของตัวเอง

บทต่อไปจะอธิบายการรวมประวัติการแก้ไขจาก repository อื่นrepository


CategoryTutorial CategoryThai

ThaiTutorialExport (last edited 2009-05-19 19:30:55 by localhost)