Size: 3298
Comment: Change link to ThaiTutorialClone.
|
← Revision 6 as of 2009-05-19 19:30:57 ⇥
Size: 3472
Comment: converted to 1.6 markup
|
Deletions are marked like this. | Additions are marked like this. |
Line 1: | Line 1: |
== บทเรียน - เริ่มต้น: การติดตั้ง == | == บทเรียน - การติดตั้ง Mercurial == |
Line 3: | Line 3: |
''(หน้านี้เป็นหน้าแรกจาก 9 หน้าใน [:ThaiTutorial:บทเรียน] การใช้งาน Mercurial หน้าต่อไปคือ [:ThaiTutorialClone])'' | ''(บทนี้เป็นบทแรกใน [[ThaiTutorial|บทเรียนการใช้งาน Mercurial]] บทถัดไปคือ [[ThaiTutorialClone|ทำสำเนา repository ที่มีอยู่]])'' |
Line 8: | Line 8: |
* สำหรับวินโดวส์ ให้ทำตามขั้นตอนใน WindowsInstall | * สำหรับวินโดวส์ ให้ทำตามขั้นตอนใน ThaiWindowsInstall |
Line 10: | Line 10: |
หลังจากคุณติดตั้งเสร็จแล้วให้กลับมาอ่านหน้านี้ต่อ | หลังจากคุณติดตั้งโปรแกรมเสร็จแล้วให้กลับมาอ่านหน้านี้ต่อ |
Line 12: | Line 12: |
โปรแกรม Mercurial มีชื่อว่า {{{hg}}} ทุกๆคำสั่งของ Mercurial เริ่มต้นด้วย {{{hg}}} ตามด้วยชื่อคำสั่ง จากนั้นจึงตามด้วยตัวเลือกและ arguments ที่เกี่ยวข้อง | โปรแกรม Mercurial มีชื่อว่า {{{hg}}} คำสั่งทุกคำสั่งของ Mercurial จะเริ่มต้นด้วย {{{hg}}} ตามด้วยชื่อคำสั่ง จากนั้นจึงตามด้วยตัวเลือกและ arguments ที่เกี่ยวข้อง |
Line 14: | Line 14: |
เอาล่ะ ทีนี้เมื่อคุณได้ติดตั้ง Mercurial เรียบร้อยแล้ว ก็น่าจะสามารถพิมพ์คำสั่ง {{{hg}}} ที่ prompt และโปรแกรม Mercurial ก็จะแสดงสรุปย่อของคำสั่งหลักๆให้คุณได้อ่าน: | เอาล่ะ ทีนี้เมื่อคุณได้ติดตั้ง Mercurial เรียบร้อยแล้ว ลองพิมพ์คำสั่ง {{{hg}}} ที่คอมมานด์พร๊อมต์ดู โปรแกรม Mercurial จะสรุปคำสั่งหลักๆให้คุณได้อ่าน: |
Line 42: | Line 42: |
โดยปกติ Mercurial จะใช้ชื่อผู้ใช้ในรูปแบบ `user@localhost` สำหรับ [:Commit:commits] ซึ่งรูปแบบนี้ไม่ค่อยมีความหมายเท่าไรนัก คุณควรจะใช้ที่อยู่อีเมล์ของคุณในไฟล์ `~/.hgrc` มากกว่า (ในวินโดวส์จะอยู่ที่ `%USERPROFILE%\Mercurial.ini`, MercurialIni) โดยเพิ่มบรรทัดต่อไปนี้: |
โดยปกติ Mercurial จะแทนชื่อผู้ใช้ของคุณในรูปแบบ `user@localhost` เวลาคุณ[[Commit|คอมมิท]] ซึ่งรูปแบบนี้ไม่ค่อยมีความหมายเท่าไรนัก เราแนะนำให้คุณเปลี่ยนชื่อผู้ใช้ของคุณในไฟล์ `~/.hgrc` โดยใช้อีเมล์ของคุณมากกว่า (ในวินโดวส์ไฟล์นี้จะอยู่ที่ `%USERPROFILE%\Mercurial.ini`, MercurialIni) โดยเพิ่มบรรทัดต่อไปนี้: |
Line 51: | Line 51: |
หลังจากเพิ่มบรรทัดดังกล่าวและบันทึกแล้ว ก็ไปต่อที่ ThaiTutorialClone กันเลย | หลังจากเพิ่มบรรทัดดังกล่าวและบันทึก เราก็ไปที่[[ThaiTutorialClone|บทต่อไป]]กันเลย |
Line 55: | Line 55: |
CategoryThai |
บทเรียน - การติดตั้ง Mercurial
(บทนี้เป็นบทแรกใน บทเรียนการใช้งาน Mercurial บทถัดไปคือ ทำสำเนา repository ที่มีอยู่)
การติดตั้ง Mercurial นั้นง่ายนิดเดียว
ในลีนุกซ์, แมค OS X, และระบบยูนิกซ์อื่นๆ ให้ทำตามขั้นตอนใน UnixInstall
สำหรับวินโดวส์ ให้ทำตามขั้นตอนใน ThaiWindowsInstall
หลังจากคุณติดตั้งโปรแกรมเสร็จแล้วให้กลับมาอ่านหน้านี้ต่อ
โปรแกรม Mercurial มีชื่อว่า hg คำสั่งทุกคำสั่งของ Mercurial จะเริ่มต้นด้วย hg ตามด้วยชื่อคำสั่ง จากนั้นจึงตามด้วยตัวเลือกและ arguments ที่เกี่ยวข้อง
เอาล่ะ ทีนี้เมื่อคุณได้ติดตั้ง Mercurial เรียบร้อยแล้ว ลองพิมพ์คำสั่ง hg ที่คอมมานด์พร๊อมต์ดู โปรแกรม Mercurial จะสรุปคำสั่งหลักๆให้คุณได้อ่าน:
$ hg Mercurial Distributed SCM basic commands: add add the specified files on the next commit annotate show changeset information per file line clone make a copy of an existing repository commit commit the specified files or all outstanding changes (...) use "hg help" for the full list of commands or "hg -v" for details
ลองเช็คดูว่าคุณกำลังใช้ Mercurial เวอร์ชั่นไหนอยู่โดยพิมพ์:
$ hg version Mercurial Distributed SCM (version 1.0) Copyright (C) 2005-2008 Matt Mackall <mpm@selenic.com> and others This is free software; see the source for copying conditions. There is NO warranty; not even for MERCHANTABILITY or FITNESS FOR A PARTICULAR PURPOSE
โดยปกติ Mercurial จะแทนชื่อผู้ใช้ของคุณในรูปแบบ user@localhost เวลาคุณคอมมิท ซึ่งรูปแบบนี้ไม่ค่อยมีความหมายเท่าไรนัก เราแนะนำให้คุณเปลี่ยนชื่อผู้ใช้ของคุณในไฟล์ ~/.hgrc โดยใช้อีเมล์ของคุณมากกว่า (ในวินโดวส์ไฟล์นี้จะอยู่ที่ %USERPROFILE%\Mercurial.ini, MercurialIni) โดยเพิ่มบรรทัดต่อไปนี้:
[ui] username = John Doe <john@example.com>
หลังจากเพิ่มบรรทัดดังกล่าวและบันทึก เราก็ไปที่บทต่อไปกันเลย