Differences between revisions 1 and 11 (spanning 10 versions)
Revision 1 as of 2008-11-19 09:38:08
Size: 5445
Comment: Translate main Tutorial page to Thai.
Revision 11 as of 2009-07-08 12:26:11
Size: 5585
Comment: Inline TOC descriptions.
Deletions are marked like this. Additions are marked like this.
Line 1: Line 1:
''ก่อนอื่นคุณอาจจะอยากลองอ่าน [:UnderstandingMercurial]'' ''ก่อนอื่นคุณอาจจะอยากลองอ่าน [[ThaiUnderstandingMercurial|ทำความเข้าใจ Mercurial]]''
Line 5: Line 5:
บทเรียนนี้เป็นการแนะนำการใช้งาน Mercurial คุณไม่จำเป็นต้องมีประสบการณ์ในการใช้ซอฟต์แวร์ [:SCM] ใดๆมาก่อน บทเรียนนี้จะแนะนำการใช้งาน Mercurial เบื้องต้น คุณไม่จำเป็นต้องมีประสบการณ์ในการใช้ซอฟต์แวร์ [[SCM]] ใดๆมาก่อน
Line 9: Line 9:
 * รู้วิธีการใช้งาน Mercurial เพื่อมีส่วนร่วมในโปรเจคซอฟต์แวร์ใดๆที่ใช้ Mercurial  * รู้วิธีการใช้งาน Mercurial เพื่อมีส่วนร่วมในโปรเจคซอฟต์แวร์ใดๆที่ใช้ Mercurial ได้
Line 11: Line 11:
เราแนะนำให้คุณลองอ่านหน้า man pages ของ Mercurial [http://www.selenic.com/mercurial/hg.1.html hg(1)] และ [http://www.selenic.com/mercurial/hgrc.5.html hgrc(5)] หรือจะลองดูใน [http://www.selenic.com/mercurial/release/?M=D release tarballs] ในไฟล์ชื่อ {{{doc/hg.1.html}}} และ {{{doc/hgrc.5.html}}} นอกจากนั้นคุณยังสามารถใช้คำสั่ง `hg help <command>` ใน command line ได้เช่นกัน เราแนะนำให้คุณลองอ่านหน้า man pages ของ Mercurial ที่ [[http://www.selenic.com/mercurial/hg.1.html|hg(1)]] และ [[http://www.selenic.com/mercurial/hgrc.5.html|hgrc(5)]] หรือจะลองดูใน [[http://www.selenic.com/mercurial/release/?M=D|release tarballs]] ในไฟล์ชื่อ {{{doc/hg.1.html}}} และ {{{doc/hgrc.5.html}}} ก็ได้ นอกจากนั้นคุณยังสามารถใช้คำสั่ง `hg help <command>` ใน command line เพื่อดูวิธีการใช้งานได้เช่นกัน
Line 13: Line 13:
บทเรียนนี้แบ่งออกเป็นหน้าย่อยเหล่านี้: บทเรียนนี้แบ่งออกเป็นหน้าย่อยดังนี้:
Line 15: Line 15:
 1. [:TutorialInstall] - ติดตั้ง Mercurial
 1. [:
TutorialClone] - คัดลอกจาก [:Repository:repository] ที่มีอยู่
 1. [:TutorialHistory] -
ดูประวัติการแก้ไขใน repository
 1. [:
TutorialFirstChange] - ทำการแก้ไขแรกของคุณ
 1. [:
TutorialShareChange] - แบ่งปันสิ่งที่คุณแก้กับ repository อื่น
 1. [:
TutorialExport] - แบ่งปันสิ่งที่คุณแก้ไขกับบุคคลอื่นๆ
 1. [:
TutorialMerge] - รวมการแก้ไขจากหลายๆแหล่งที่เกิขึ้นกับไฟล์ๆเดี
 1. [:
TutorialConflict] - [:Merge:merges] การแก้ไขที่ขัดแย้งกัน
 1. [:TutorialConclusion] -
สรุปบทเรียน
 1. [[ThaiTutorialInstall|การติดตั้ง Mercurial]]
 1. [[Thai
TutorialClone|การทำสำเนา repository]]
 1. [[ThaiTutorialHis
tory|ดูประวัติการแก้ไขใน repository]]
 1. [[Thai
TutorialFirstChange|ทำการแก้ไขแรกของคุณ]]
 1. [[Thai
TutorialShareChange|แบ่งปันสิ่งที่คุณแก้ไขกับ repository อื่น]]
 1. [[Thai
TutorialExport|แบ่งปันสิ่งที่คุณแก้ไขกับบุคคลอื่นๆ]]
 1. [[Thai
TutorialMerge|รวมประวัติการแก้ไขจาก repository อื่น]]
 1. [[ThaiTutorialConflict|การรวมประวัติการแก้ไข
ที่ขั้ง]]
 1. [[Thai
TutorialConclusion|สรุป]]
Line 27: Line 27:
บทเรียนนี้มีการจัดรูปแบบง่ายๆ ชื่อคำสั่งและ parameters จะถูกแสดงในฟอน์แบบนี้ {{{fixed font}}} บทเรียนนี้มีการจัดรูปแบบง่ายๆ โดยชื่อคำสั่งและพารามิเตอร์ต่างๆจะถูกแสดงในฟอน์แบบนี้ {{{fixed font}}}
Line 29: Line 29:
คำสั่งที่คุณต้องพิมพ์ใน shell หรือ command prompt จะถูกแสดงด้วยฟอนต์แบบ fixed font และบรรทัดจะเริ่มด้วยตัวอักษร {{{$}}} คำสั่งที่คุณต้องพิมพ์ใน shell หรือคอมมานด์พร๊อมต์จะถูกแสดงด้วยฟอนต์แบบ fixed font และเริ่มบรรทัดด้วยตัวอักษร {{{$}}}
Line 38: Line 38:
เราใช้ {{{bash}}} shell ในทุกตัวอย่าง คุณสามารถใช้หลักการเดียวกันได้ใน shell อื่นๆของยูนิกซ์และใน {{{cmd.exe}}} ของวินโดวส์ แต่ว่า syntax อาจจะแตกต่างกันไป ยกตัวอย่างเช่น คำสั่ง {{{ls}}} ในยูนิกซ์เทียบเท่ากับคำสั่ง {{{dir}}} ในวินโดวส์ และคำสั่ง {{{vi}}} ในยูนิกซ์ก็คล้ายๆกับคำสั่ง {{{edit}}} ในวินโดวส์ เราใช้ {{{bash}}} shell ในทุกตัวอย่าง คุณสามารถใช้หลักการเดียวกันได้ใน shell อื่นๆของยูนิกซ์และใน {{{cmd.exe}}} ของวินโดวส์ แต่ว่า syntax อาจจะแตกต่างกันไปบ้าง ยกตัวอย่างเช่น คำสั่ง {{{ls}}} ในยูนิกซ์เทียบเท่ากับคำสั่ง {{{dir}}} ในวินโดวส์ และคำสั่ง {{{vi}}} ในยูนิกซ์ก็คล้ายๆกับคำสั่ง {{{edit}}} ในวินโดวส์
Line 40: Line 40:
โอเค ทีนี้เราก็พร้อมเริ่มบทเรียน [:TutorialInstall] แล้ว โอเค ทีนี้เราก็พร้อมเริ่มบทเรียน [[ThaiTutorialInstall|การติดตั้ง Mercurial]] แล้ว
Line 44: Line 44:
บทเรียนนี้ได้ถูกแปลเป็นภาษาเหล่านี้ (เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาอังกฤษ):[[BR]] บทเรียนนี้ได้ถูกแปลเป็นภาษาเหล่านี้:<<BR>>
Line 46: Line 46:
[:ChineseTutorial:ภาษาจีน],
[:
FrenchTutorial:ภาษาฝรั่งเศษ],
[:
GermanTutorial:ภาษาเยอรมัน],
[:
ItalianTutorial:ภาษาอิตาลี],
[:
JapaneseTutorial:ภาษาญี่ปุ่น],
[:
KoreanTutorial:ภาษาเกาหลี],
[:
BrazilianPortugueseTutorial:ภาษาโปรตุเกสแบบบราซิล],
[:
SpanishTutorial:ภาษาสเปน]
[:
RussianTutorial:ภาษารัสเซีย]
[:
UkrainianTutorial:ภาษายูเครน]
[[ChineseTutorial|ภาษาจีน]],
[[
FrenchTutorial|ภาษาฝรั่งเศษ]],
[[
GermanTutorial|ภาษาเยอรมัน]],
[[
ItalianTutorial|ภาษาอิตาลี]],
[[
JapaneseTutorial|ภาษาญี่ปุ่น]],
[[
KoreanTutorial|ภาษาเกาหลี]],
[[
BrazilianPortugueseTutorial|ภาษาโปรตุเกสบราซิล]],
[[
SpanishTutorial|ภาษาสเปน]]
[[
RussianTutorial|ภาษารัสเซีย]]
[[
UkrainianTutorial|ภาษายูเครน]]
Line 57: Line 57:
หมายเหตุ: เนื้อหาในหน้าที่ถูกแปลอาจจะไม่าสุดเท่ากับเนื้อหาภาษาอังกฤษ หมายเหตุ: เนื้อหาในหน้าที่ถูกแปลอาจจะไม่ใหม่เท่ากับเนื้อหาภาษาอังกฤษ
Line 61: Line 61:
CategoryThai

ก่อนอื่นคุณอาจจะอยากลองอ่าน ทำความเข้าใจ Mercurial

เรียนรู้การใช้งาน Mercurial

บทเรียนนี้จะแนะนำการใช้งาน Mercurial เบื้องต้น คุณไม่จำเป็นต้องมีประสบการณ์ในการใช้ซอฟต์แวร์ SCM ใดๆมาก่อน

หลังจากที่คุณอ่านบทเรียนนี้จนจบ คุณจะสามารถ:

  • เข้าใจหลักการและคำสั่งเบื้องต้นในการใช้ Mercurial
  • รู้วิธีการใช้งาน Mercurial เพื่อมีส่วนร่วมในโปรเจคซอฟต์แวร์ใดๆที่ใช้ Mercurial ได้

เราแนะนำให้คุณลองอ่านหน้า man pages ของ Mercurial ที่ hg(1) และ hgrc(5) หรือจะลองดูใน release tarballs ในไฟล์ชื่อ doc/hg.1.html และ doc/hgrc.5.html ก็ได้ นอกจากนั้นคุณยังสามารถใช้คำสั่ง hg help <command> ใน command line เพื่อดูวิธีการใช้งานได้เช่นกัน

บทเรียนนี้แบ่งออกเป็นหน้าย่อยดังนี้:

  1. การติดตั้ง Mercurial

  2. การทำสำเนา repository

  3. ดูประวัติการแก้ไขใน repository

  4. ทำการแก้ไขแรกของคุณ

  5. แบ่งปันสิ่งที่คุณแก้ไขกับ repository อื่น

  6. แบ่งปันสิ่งที่คุณแก้ไขกับบุคคลอื่นๆ

  7. รวมประวัติการแก้ไขจาก repository อื่น

  8. การรวมประวัติการแก้ไขที่ขัดแย้ง

  9. สรุป

วิธีการอ่านบทเรียนนี้

บทเรียนนี้มีการจัดรูปแบบง่ายๆ โดยชื่อคำสั่งและพารามิเตอร์ต่างๆจะถูกแสดงในฟอนต์แบบนี้ fixed font

คำสั่งที่คุณต้องพิมพ์ใน shell หรือคอมมานด์พร๊อมต์จะถูกแสดงด้วยฟอนต์แบบ fixed font และเริ่มบรรทัดด้วยตัวอักษร $

ผลลัพธ์จากคำสั่งจะถูกแสดงด้วยฟอนต์แบบ fixed font แต่จะไม่มีตัวอักษรใดๆนำหน้าบรรทัด

$ นี่คือบรรทัดที่คุณต้องพิมพ์คำสั่ง
นี่คือบรรทัดที่แสดงผลลัพธ์

เราใช้ bash shell ในทุกตัวอย่าง คุณสามารถใช้หลักการเดียวกันได้ใน shell อื่นๆของยูนิกซ์และใน cmd.exe ของวินโดวส์ แต่ว่า syntax อาจจะแตกต่างกันไปบ้าง ยกตัวอย่างเช่น คำสั่ง ls ในยูนิกซ์เทียบเท่ากับคำสั่ง dir ในวินโดวส์ และคำสั่ง vi ในยูนิกซ์ก็คล้ายๆกับคำสั่ง edit ในวินโดวส์

โอเค ทีนี้เราก็พร้อมเริ่มบทเรียน การติดตั้ง Mercurial แล้ว

คำแปล

บทเรียนนี้ได้ถูกแปลเป็นภาษาเหล่านี้:

ภาษาจีน, ภาษาฝรั่งเศษ, ภาษาเยอรมัน, ภาษาอิตาลี, ภาษาญี่ปุ่น, ภาษาเกาหลี, ภาษาโปรตุเกสบราซิล, ภาษาสเปน ภาษารัสเซีย ภาษายูเครน

หมายเหตุ: เนื้อหาในหน้าที่ถูกแปลอาจจะไม่ใหม่เท่ากับเนื้อหาภาษาอังกฤษ


CategoryTutorial CategoryThai

ThaiTutorial (last edited 2012-11-11 13:33:07 by abuehl)