⇤ ← Revision 1 as of 2008-11-28 14:57:51
Size: 7666
Comment: Translate ChangeSet page to Thai.
|
← Revision 2 as of 2009-05-19 19:30:58 ⇥
Size: 7686
Comment: converted to 1.6 markup
|
Deletions are marked like this. | Additions are marked like this. |
Line 3: | Line 3: |
''(สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการทำงานของ Mercurial ลองดู [:ThaiUnderstandingMercurial:ทำความเข้าใจ Mercurial])'' | ''(สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการทำงานของ Mercurial ลองดู [[ThaiUnderstandingMercurial|ทำความเข้าใจ Mercurial]])'' |
Line 5: | Line 5: |
'''เซ็ตของการแก้ไข''' หรือ changeset (บางครั้งถูกย่อเป็น "cset") คือหน่วยของการแก้ไขที่เกิดขึ้นกับไฟล์หนึ่งหรือหลายไฟล์ใน [:Repository:repository] เซ็ตของการแก้ไขเก็บประวัติของการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับ[:ThaiLocalModifications:ไฟล์ที่ถูกแก้ไขในไดเร็คทอรี่สำหรับใช้ทำงาน]และถูก[:ThaiCommit:คอมมิท]เป็น[:Revision:การแก้ไข]ครั้งใหม่ใน repository | '''เซ็ตของการแก้ไข''' หรือ changeset (บางครั้งถูกย่อเป็น "cset") คือหน่วยของการแก้ไขที่เกิดขึ้นกับไฟล์หนึ่งหรือหลายไฟล์ใน [[Repository|repository]] เซ็ตของการแก้ไขเก็บประวัติของการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับ[[ThaiLocalModifications|ไฟล์ที่ถูกแก้ไขในไดเร็คทอรี่สำหรับใช้ทำงาน]]และถูก[[ThaiCommit|คอมมิท]]เป็น[[Revision|การแก้ไข]]ครั้งใหม่ใน repository |
Line 7: | Line 7: |
เราสามารถระบุเซ็ตของการแก้ไขได้โดยใช้[:ThaiChangeSetID:รหัสประจำเซ็ตการแก้ไข] นอกจากนั้นใน repository ใด repository หนึ่งคุณสามารถระบุเซ็ตของการแก้ไขได้โดยใช้[:ThaiRevisionNumber:เลขครั้งที่แก้ไข]ได้เช่นกัน | เราสามารถระบุเซ็ตของการแก้ไขได้โดยใช้[[ThaiChangeSetID|รหัสประจำเซ็ตการแก้ไข]] นอกจากนั้นใน repository ใด repository หนึ่งคุณสามารถระบุเซ็ตของการแก้ไขได้โดยใช้[[ThaiRevisionNumber|เลขครั้งที่แก้ไข]]ได้เช่นกัน |
Line 9: | Line 9: |
การสร้างเซ็ตของการแก้ไขใหม่นั้นมีชื่อเรียกว่าการ[:ThaiCommit:คอมมิท] หรือเช็คอิน โดยข้อมูลที่ถูกเก็บโดยเซ็ตของการแก้ไขนั้นรวมไปถึง: | การสร้างเซ็ตของการแก้ไขใหม่นั้นมีชื่อเรียกว่าการ[[ThaiCommit|คอมมิท]] หรือเช็คอิน โดยข้อมูลที่ถูกเก็บโดยเซ็ตของการแก้ไขนั้นรวมไปถึง: |
Line 11: | Line 11: |
* [:ThaiNodeid:nodeid] ของ [:ThaiManifest:มานิเฟสต์] | * [[ThaiNodeid|nodeid]] ของ [[ThaiManifest|มานิเฟสต์]] |
Line 14: | Line 14: |
* ชื่อของ[:Branch:กิ่ง]ที่ถูกทำการแก้ไข (จะใช้ชื่อ "default" ถ้าไม่ได้ระบุกิ่ง) | * ชื่อของ[[Branch|กิ่ง]]ที่ถูกทำการแก้ไข (จะใช้ชื่อ "default" ถ้าไม่ได้ระบุกิ่ง) |
Line 16: | Line 16: |
แต่ละเซ็ตการแก้ไขอาจมี[:ThaiParent:บรรพบุรุษ]ได้หนึ่งหรือสองเซ็ตการแก้ไข เซ็ตการแก้ไขที่เกิดขึ้นจากการ[:ThaiMerge:รวมประวัติการแก้ไข]จะมีบรรพบุรุษสองเซ็ต ถ้าเซ็ตการแก้ไขนั้นไม่มีบรรพบุรุษนั่นหมายความว่าเป็นเซ็ตการแก้ไขรากของ repository ในแต่ละ repository ก็อาจจะมีเซ็ตการแก้ไขรากได้หลายเซ็ต (แต่โดยปกติแล้วมักจะมีแค่เซ็ตเดียว) โดยรากแต่ละเซ็ตคือรากของแต่ละกิ่ง | แต่ละเซ็ตการแก้ไขอาจมี[[ThaiParent|บรรพบุรุษ]]ได้หนึ่งหรือสองเซ็ตการแก้ไข เซ็ตการแก้ไขที่เกิดขึ้นจากการ[[ThaiMerge|รวมประวัติการแก้ไข]]จะมีบรรพบุรุษสองเซ็ต ถ้าเซ็ตการแก้ไขนั้นไม่มีบรรพบุรุษนั่นหมายความว่าเป็นเซ็ตการแก้ไขรากของ repository ในแต่ละ repository ก็อาจจะมีเซ็ตการแก้ไขรากได้หลายเซ็ต (แต่โดยปกติแล้วมักจะมีแค่เซ็ตเดียว) โดยรากแต่ละเซ็ตคือรากของแต่ละกิ่ง |
Line 18: | Line 18: |
ถ้าเซ็ตการแก้ไขไม่ใช่[:ThaiHead:ส่วนยอด]ของกิ่ง เซ็ตการแก้ไขนั้นจะมีเซ็ตลูกอย่างน้อยหนึ่งเซ็ต (ซึ่งหมายความว่าเซ็ตการแก้ไขนั้นเป็นบรรพบุรุษของเซ็ตการแก้ไขลูกเหล่านั้นด้วย) | ถ้าเซ็ตการแก้ไขไม่ใช่[[ThaiHead|ส่วนยอด]]ของกิ่ง เซ็ตการแก้ไขนั้นจะมีเซ็ตลูกอย่างน้อยหนึ่งเซ็ต (ซึ่งหมายความว่าเซ็ตการแก้ไขนั้นเป็นบรรพบุรุษของเซ็ตการแก้ไขลูกเหล่านั้นด้วย) |
Line 20: | Line 20: |
คุณสามารถ[:ThaiUpdate:อัพเดท]เนื้อหาของไฟล์ใน[:ThaiWorkingDirectory:ไดเร็คทอรี่สำหรับใช้ทำงาน]ให้ตรงกับเซ็ตการแก้ไขที่ถูกไปแล้วในอดีตได้ เมื่อคุณทำเช่นนี้เซ็ตการแก้ไขนั้นจะกลายเป็นบรรพบุรุษของไดเร็คทอรี่สำหรับใช้ทำงาน | คุณสามารถ[[ThaiUpdate|อัพเดท]]เนื้อหาของไฟล์ใน[[ThaiWorkingDirectory|ไดเร็คทอรี่สำหรับใช้ทำงาน]]ให้ตรงกับเซ็ตการแก้ไขที่ถูกไปแล้วในอดีตได้ เมื่อคุณทำเช่นนี้เซ็ตการแก้ไขนั้นจะกลายเป็นบรรพบุรุษของไดเร็คทอรี่สำหรับใช้ทำงาน |
Line 22: | Line 22: |
การ "อัพเดท" ไดเร็คทอรี่สำหรับใช้งานกลับไปที่เซ็ตการแก้ไขที่มีเซ็ตลูกอยู่แล้วและทำการแก้ไขไฟล์และคอมมิท จะทำให้เกิดเซ็ตการแก้ไขลูกใหม่และก็ทำให้เกิดกิ่งใหม่ด้วยเช่นกัน คุณสามารถ[:ThaiNamedBranches:ตั้งชื่อให้กิ่ง]แต่ละกิ่งได้เช่นกัน | การ "อัพเดท" ไดเร็คทอรี่สำหรับใช้งานกลับไปที่เซ็ตการแก้ไขที่มีเซ็ตลูกอยู่แล้วและทำการแก้ไขไฟล์และคอมมิท จะทำให้เกิดเซ็ตการแก้ไขลูกใหม่และก็ทำให้เกิดกิ่งใหม่ด้วยเช่นกัน คุณสามารถ[[ThaiNamedBranches|ตั้งชื่อให้กิ่ง]]แต่ละกิ่งได้เช่นกัน |
Line 24: | Line 24: |
ทุกๆเซ็ตการแก้ไขใน repository จะถูกเก็บในสิ่งที่เรียกว่า [:ThaiChangelog:changelog] | ทุกๆเซ็ตการแก้ไขใน repository จะถูกเก็บในสิ่งที่เรียกว่า [[ThaiChangelog|changelog]] |
Line 41: | Line 41: |
หน้าที่เกี่ยวข้อง: ["ChangeSetComments"], ["Design"] | หน้าที่เกี่ยวข้อง: [[ChangeSetComments]], [[Design]] |
Line 45: | Line 45: |
* วิธีการคำนวน hash ของเซ็ตการแก้ไขนั้นบ่งบอกว่าเซ็ตการแก้ไขเหมือนกับสภาพของ repository ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง พร้อมๆกับบรรพบุรุษทั้งหมดที่ทำให้เกิดการแก้ไขนั้นๆ (หรือจะเรียกได้ว่าทุกๆเซ็ตการแก้ไขที่นำไปสู่เซ็ตนั้น) ใน Darcs ความหมายนี้เทียบเท่ากับ [http://www.darcs.net/manual/node7.html#SECTION00781000000000000000 tag] | * วิธีการคำนวน hash ของเซ็ตการแก้ไขนั้นบ่งบอกว่าเซ็ตการแก้ไขเหมือนกับสภาพของ repository ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง พร้อมๆกับบรรพบุรุษทั้งหมดที่ทำให้เกิดการแก้ไขนั้นๆ (หรือจะเรียกได้ว่าทุกๆเซ็ตการแก้ไขที่นำไปสู่เซ็ตนั้น) ใน Darcs ความหมายนี้เทียบเท่ากับ [[http://www.darcs.net/manual/node7.html#SECTION00781000000000000000|tag]] |
เซ็ตของการแก้ไข
(สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการทำงานของ Mercurial ลองดู ทำความเข้าใจ Mercurial)
เซ็ตของการแก้ไข หรือ changeset (บางครั้งถูกย่อเป็น "cset") คือหน่วยของการแก้ไขที่เกิดขึ้นกับไฟล์หนึ่งหรือหลายไฟล์ใน repository เซ็ตของการแก้ไขเก็บประวัติของการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับไฟล์ที่ถูกแก้ไขในไดเร็คทอรี่สำหรับใช้ทำงานและถูกคอมมิทเป็นการแก้ไขครั้งใหม่ใน repository
เราสามารถระบุเซ็ตของการแก้ไขได้โดยใช้รหัสประจำเซ็ตการแก้ไข นอกจากนั้นใน repository ใด repository หนึ่งคุณสามารถระบุเซ็ตของการแก้ไขได้โดยใช้เลขครั้งที่แก้ไขได้เช่นกัน
การสร้างเซ็ตของการแก้ไขใหม่นั้นมีชื่อเรียกว่าการคอมมิท หรือเช็คอิน โดยข้อมูลที่ถูกเก็บโดยเซ็ตของการแก้ไขนั้นรวมไปถึง:
- รายชื่อของไฟล์ที่ถูกแก้ไข
- ข้อมูลเกี่ยวกับคนที่ทำการแก้ไข ("committer") เหตุผลหรือคำอธิบายการแก้ไข และวันที่และเวลาที่ถูกแก้ไข
ชื่อของกิ่งที่ถูกทำการแก้ไข (จะใช้ชื่อ "default" ถ้าไม่ได้ระบุกิ่ง)
แต่ละเซ็ตการแก้ไขอาจมีบรรพบุรุษได้หนึ่งหรือสองเซ็ตการแก้ไข เซ็ตการแก้ไขที่เกิดขึ้นจากการรวมประวัติการแก้ไขจะมีบรรพบุรุษสองเซ็ต ถ้าเซ็ตการแก้ไขนั้นไม่มีบรรพบุรุษนั่นหมายความว่าเป็นเซ็ตการแก้ไขรากของ repository ในแต่ละ repository ก็อาจจะมีเซ็ตการแก้ไขรากได้หลายเซ็ต (แต่โดยปกติแล้วมักจะมีแค่เซ็ตเดียว) โดยรากแต่ละเซ็ตคือรากของแต่ละกิ่ง
ถ้าเซ็ตการแก้ไขไม่ใช่ส่วนยอดของกิ่ง เซ็ตการแก้ไขนั้นจะมีเซ็ตลูกอย่างน้อยหนึ่งเซ็ต (ซึ่งหมายความว่าเซ็ตการแก้ไขนั้นเป็นบรรพบุรุษของเซ็ตการแก้ไขลูกเหล่านั้นด้วย)
คุณสามารถอัพเดทเนื้อหาของไฟล์ในไดเร็คทอรี่สำหรับใช้ทำงานให้ตรงกับเซ็ตการแก้ไขที่ถูกไปแล้วในอดีตได้ เมื่อคุณทำเช่นนี้เซ็ตการแก้ไขนั้นจะกลายเป็นบรรพบุรุษของไดเร็คทอรี่สำหรับใช้ทำงาน
การ "อัพเดท" ไดเร็คทอรี่สำหรับใช้งานกลับไปที่เซ็ตการแก้ไขที่มีเซ็ตลูกอยู่แล้วและทำการแก้ไขไฟล์และคอมมิท จะทำให้เกิดเซ็ตการแก้ไขลูกใหม่และก็ทำให้เกิดกิ่งใหม่ด้วยเช่นกัน คุณสามารถตั้งชื่อให้กิ่งแต่ละกิ่งได้เช่นกัน
ทุกๆเซ็ตการแก้ไขใน repository จะถูกเก็บในสิ่งที่เรียกว่า changelog
นี่คือตัวอย่างว่า Mercurial เก็บข้อมูลของเซ็ตการแก้ไขยังไง:
$ hg debugdata .hg/00changelog.d 1208 1102691ceab8c8f278edecd80f2e3916090082dd <- เลขที่ nodeid ของมานิเฟสต์ mpm@selenic.com <- คนที่คอมมิท 1126146623 25200 <- วันที่คอมมิท นับเป็นวินาทีตั้งแต่ศักราชใหม่และอิงกับเวลา UTC mercurial/commands.py <- รายชื่อของไฟล์ที่ถูกแก้ไข ตามมาด้วยคำอธิบาย Clean up local clone file list We now use an explicit list of files to copy during clone so that we don't copy anything we shouldn't.
หน้าที่เกี่ยวข้อง: ChangeSetComments, Design
- คำถาม: เซ็ตของการแก้ไขเทียบเท่ากับสภาพของ repository ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง (เหมือนเลขที่การแก้ไขในซับเวอร์ชั่น) หรือว่าเทียบเท่ากับการแก้ไขที่เกิดขึ้นกับไฟล์ (เหมือนกับ Darcs patch)?
วิธีการคำนวน hash ของเซ็ตการแก้ไขนั้นบ่งบอกว่าเซ็ตการแก้ไขเหมือนกับสภาพของ repository ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง พร้อมๆกับบรรพบุรุษทั้งหมดที่ทำให้เกิดการแก้ไขนั้นๆ (หรือจะเรียกได้ว่าทุกๆเซ็ตการแก้ไขที่นำไปสู่เซ็ตนั้น) ใน Darcs ความหมายนี้เทียบเท่ากับ tag